วันศุกร์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2557
September 2014
https://plus.google.com/102403067064398413189/stories/e2d41a45-3d78-3ee2-8b17-3dd23af63a9714a84fe0c7b?authkey=
วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2557
Point of view camera angle ( POV )
กล้อง พอยต์ ออฟ วิว Point of view camera angle ( POV )
กล้องประเภทนี้จะใช้ถ่ายให้ผู้ดูเห็นภาพเหตุการณ์จากสายตาของผู้แสดงอีกทีหนึ่ง ผู้ดูจะเห็นผู้แสดงจากมุมกล้องObjective และเห็นภาพที่ผู้แสดงเห็นจากมุมกล้องพอยต์ ออฟ วิว ตัวอย่างเช่น ภาพแรกผู้ดูเห็นภาพเฮลิคอปเตอร์บินเหนือกรุงเทพฯ ตัดภาพไปที่คนขับมองลงมาข้างล่าง แล้วตัดเป็นภาพการจราจรในกรุงเทพฯ ภาพการจราจรในกรุงเทพฯ เป็นภาพจากมุมกล้องพอยต์ ออฟ วิว ของคนขับเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์
http://www.youtube.com/watch?v=sLFN8A5gMcs
กล้องประเภทนี้จะใช้ถ่ายให้ผู้ดูเห็นภาพเหตุการณ์จากสายตาของผู้แสดงอีกทีหนึ่ง ผู้ดูจะเห็นผู้แสดงจากมุมกล้องObjective และเห็นภาพที่ผู้แสดงเห็นจากมุมกล้องพอยต์ ออฟ วิว ตัวอย่างเช่น ภาพแรกผู้ดูเห็นภาพเฮลิคอปเตอร์บินเหนือกรุงเทพฯ ตัดภาพไปที่คนขับมองลงมาข้างล่าง แล้วตัดเป็นภาพการจราจรในกรุงเทพฯ ภาพการจราจรในกรุงเทพฯ เป็นภาพจากมุมกล้องพอยต์ ออฟ วิว ของคนขับเครื่องบินเฮลิคอปเตอร์
http://www.youtube.com/watch?v=sLFN8A5gMcs
File Base & Wrappers and Containers
Wrappers and Containers
จะเห็นได้ว่ามีมาตรฐานการบีบอัดและจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้มข้อมูลวิดีโออยู่หลายแบบ บางชนิดก็เป็นแบบที่เป็นการใช้งานเฉพาะตัว เช่น Window Media และ Real Video แบบอื่นที่เหลือตั้งอยู่บนพื้นฐานของความแตกต่างของวิธีการห่อหุ้มข้อมูลภาพและเสียงที่ถูกบีบอัดตามมาตรฐาน ตัวห่อหุ้มจะทำหน้าที่กำหนดประเภทของภาพและเสียงที่นำเสนอ และข้อมูลที่ประกอบด้วยชื่อหัวเรื่อง ชื่อของผู้ผลิตหรือรายละเอียดอื่นๆ เรามักจะเห็นวิดีโอที่มีหลากหลายรูปแบบเช่น วิดีโอที่เกิดจากการส่งออกอากาศของสถานีส่ง วิดีโอที่ผ่านเครือข่าย Internet หรือาจเป็นวิดีโอที่อยู่ในรูปแบบของแฟ้มข้อมูล เราจะพบว่าแม้ดูจากภายนอกเป็นครั้งแรกดูเสมือนว่ามันเป็นความแตกต่างกันก็ตาม แต่ในความเป็นจริงแล้วทั้งหมดตั้งอยู่บนพื้นฐานของมาตรฐานธรรมดาไม่กี่ชนิดเอง
MXF (Material eXchange Format)
เป็นแพคเกจของมาตรฐานหนึ่ง ที่ได้ห่อหุ้ม (wrapper )หรือบรรจุ เนื้อหาข้อมูล Media (Video ,Audio) รวมถึงรายละเอียดของข้อมูล (metadata )
- MXF Operational Pattern Atom (OP-Atom) ที่ใช้งานส่วนใหญ่ในบ้านเราจะเป็นผลิตภัณฑ์ Panasonic , Ikegami Editcam
- MXF Operational Pattern 1a (OP1a) เป็นผลิตภัณฑ์ Sony XDCAM
จะเห็นได้ว่ามีมาตรฐานการบีบอัดและจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้มข้อมูลวิดีโออยู่หลายแบบ บางชนิดก็เป็นแบบที่เป็นการใช้งานเฉพาะตัว เช่น Window Media และ Real Video แบบอื่นที่เหลือตั้งอยู่บนพื้นฐานของความแตกต่างของวิธีการห่อหุ้มข้อมูลภาพและเสียงที่ถูกบีบอัดตามมาตรฐาน ตัวห่อหุ้มจะทำหน้าที่กำหนดประเภทของภาพและเสียงที่นำเสนอ และข้อมูลที่ประกอบด้วยชื่อหัวเรื่อง ชื่อของผู้ผลิตหรือรายละเอียดอื่นๆ เรามักจะเห็นวิดีโอที่มีหลากหลายรูปแบบเช่น วิดีโอที่เกิดจากการส่งออกอากาศของสถานีส่ง วิดีโอที่ผ่านเครือข่าย Internet หรือาจเป็นวิดีโอที่อยู่ในรูปแบบของแฟ้มข้อมูล เราจะพบว่าแม้ดูจากภายนอกเป็นครั้งแรกดูเสมือนว่ามันเป็นความแตกต่างกันก็ตาม แต่ในความเป็นจริงแล้วทั้งหมดตั้งอยู่บนพื้นฐานของมาตรฐานธรรมดาไม่กี่ชนิดเอง
MXF (Material eXchange Format)
เป็นแพคเกจของมาตรฐานหนึ่ง ที่ได้ห่อหุ้ม (wrapper )หรือบรรจุ เนื้อหาข้อมูล Media (Video ,Audio) รวมถึงรายละเอียดของข้อมูล (metadata )
- MXF Operational Pattern Atom (OP-Atom) ที่ใช้งานส่วนใหญ่ในบ้านเราจะเป็นผลิตภัณฑ์ Panasonic , Ikegami Editcam
- MXF Operational Pattern 1a (OP1a) เป็นผลิตภัณฑ์ Sony XDCAM
High Efficiency Video Coding ( 4K )
High Efficiency Video Coding (HEVC)
H.265นั้นมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการอีกชื่อหนึ่งว่า High Efficiency Video Coding (HEVC) โดยมีเป้าหมายคือการลดBandwidth ในการสตรีมมิงวีดีโอลงไปกว่าครึ่งหนึ่งเมื่อเทียบกับฟอร์แมต H.264 ซึ่งจะเป็นประโยชน์มากสำหรับการสตรีมมิงวีดีโอความละเอียดระดับ 4k ที่กำลังมาแรงในขณะนี้ และยังช่วยให้การสตรีมมิงวีดีโอความละเอียดระดับ HD บนเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือที่มีข้อจำกัดเรื่องBandwidthนั้นดีขึ้น
http://www.youtube.com/watch?v=lXY8Szhz42M
H.265นั้นมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการอีกชื่อหนึ่งว่า High Efficiency Video Coding (HEVC) โดยมีเป้าหมายคือการลดBandwidth ในการสตรีมมิงวีดีโอลงไปกว่าครึ่งหนึ่งเมื่อเทียบกับฟอร์แมต H.264 ซึ่งจะเป็นประโยชน์มากสำหรับการสตรีมมิงวีดีโอความละเอียดระดับ 4k ที่กำลังมาแรงในขณะนี้ และยังช่วยให้การสตรีมมิงวีดีโอความละเอียดระดับ HD บนเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือที่มีข้อจำกัดเรื่องBandwidthนั้นดีขึ้น
http://www.youtube.com/watch?v=lXY8Szhz42M
Broadcast Management System (BMS)
Broadcast Management System
BMS คือระบบบริหารรายการและการโฆษณา สำหรับสถานีโทรทัศน์และสถานีวิทยุครบวงจรตั้งแต่การเริ่ม จัดหา,กำหนด,รวบรวมข้อมูลของรายชื่อของContent (Acquisition) ไปจนถึงการจัดผังรายการที่จะออกอากาศ การจัดแพคเกจการขายโฆษณาต่างๆ จนถึงการออกใบแจ้งหนี้ และยังมีรายงานหลายหลายมุมมองที่สามารถนำมาตรวจสอบได้ และสามารถจัดผังรายการสำหรับออกอากาศได้ง่ายโดยเพียงลาก-วางบน Software Computer เท่านั้น
ประโยชน์ของระบบ BMS
- ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผนงานการออกอากาศของสถานีโทรทัศน์ บริหารจัดการรายการ ควบคุมผัง,การเซ็นเซอร์ ,จัดการการออกอากาศ ,ยืดหยุ่น รองรับการใช้งานของสถานี และการออกอากาศ Re-run ได้สมบูรณ์แบบที่สุด
- ช่วยเพื่มประสิทธิภาพในระบบการขายโฆษณา สามารถสร้าง Package การขายที่ยืดหยุ่น รองรับทุกรูปแบบสื่อโฆษณา รวมถึงสามารถจัดโปรโมชั่นการพ่วงขายข้ามสถานีได้แบบง่ายดาย
- ช่วยให้งานด้านปฏิบัติการให้เป็นระบบและรวดเร็วมากขึ้น ในเรื่องของ Media Management เช่น ควบคุมสินค้าของสถานีโทรทัศน์ ( รายการโฆษณา รายการโปรโมท โลโก้ และอื่นๆ)
- ช่วยให้การจัดคิวโฆษณาเป็นเรื่องง่าย ด้วยระบบลาก-วาง พร้อมตัวช่วยที่พร้อมให้ใช้งานตามความต้องการ เช่น การพิมพ์ผังคิวโฆษณารายวัน , การส่งออก Playlist ไปยังระบบออกอากาศของสถานีฯ
- รองรับการบริหารรายการได้หลายช่องด้วยระบบเดียว(Multi-Channel Support) คือ สามารถทำผังรายการหลายๆโปรแกรมหรือหลายช่องสำหรับองค์เดียวกัน
- ช่วยควบคุมและตรวจประสานงานระหว่างแผนกต่างๆมากขึ้น
- ช่วยการบริหารงานสำหรับผู้บริหารด้วยระบบ Workflow และ Executive Report โดยจะเป็น Report รูปแบบใหม่ ดูง่าย ตอบโจทย์ผู้บริหารสถานีที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทันที การนำเสนอข้อมูลถูกต้อง แม่นยำ เข้าใจง่ายด้วยรูปแบบการแสดงผลเป็นกราฟที่ชัดเจน นำมาวิเคราะห์ใช้งานต่อได้จริง
" BMS ตอบโจทย์ได้ในทุกคำถาม เช่น "
พนักงานขาย : เดือนนี้ มีรายการไหน ที่ยังเหลือนาทีโฆษณาบ้าง?
ลูกค้า : เดือนนี้ สินค้า A ออกอากาศกี่ครั้ง/รายการไหนบ้าง/ออกอากาศ ชุดไหนบ้าง?
คิวโฆษณา : รายการ A งดออกอากาศ จะต้องแจ้งย้ายโฆษณา ของลูกค้ารายใดบ้าง?
ผู้บริหาร : แต่ละรายการ ใช้นาทีมีประสิทธิภาพแค่ไหน?
หากเรานำระบบ BMS ร่วมกับ Middleware สามารถนำรายละเอียดของผังรายการ รายละเอียดของเนื้อหาของละคร เรื่องย่อ สรุปประเด็นประจำวัน ไปแสดงร่วมกับ EPG บนจอแสดงบนของผู้รับชมทางบ้านได้อีกอย่างง่ายดาย
ทั้งนี้ระบบของBMS จะทำงานอย่างสมบูรณ์แบบและมีประสิทธิภาพสูงสุดสำหรับในสถานีโทรทัศน์ช่องใดช่องนึง ก็ต้องมีระบบ Media Access Management System (MAM) เข้ามาทำงานควบคู่กันไปไปในระบบด้วย เพราะการออกอากาศของสถานีโทรทัศน์ส่วนใหญ่เป็นลักษณะในรูปแบบ File base work flow Solution .
By วีรเทพ วุฒิ weeratap@hotmail.com
BMS คือระบบบริหารรายการและการโฆษณา สำหรับสถานีโทรทัศน์และสถานีวิทยุครบวงจรตั้งแต่การเริ่ม จัดหา,กำหนด,รวบรวมข้อมูลของรายชื่อของContent (Acquisition) ไปจนถึงการจัดผังรายการที่จะออกอากาศ การจัดแพคเกจการขายโฆษณาต่างๆ จนถึงการออกใบแจ้งหนี้ และยังมีรายงานหลายหลายมุมมองที่สามารถนำมาตรวจสอบได้ และสามารถจัดผังรายการสำหรับออกอากาศได้ง่ายโดยเพียงลาก-วางบน Software Computer เท่านั้น
ประโยชน์ของระบบ BMS
- ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผนงานการออกอากาศของสถานีโทรทัศน์ บริหารจัดการรายการ ควบคุมผัง,การเซ็นเซอร์ ,จัดการการออกอากาศ ,ยืดหยุ่น รองรับการใช้งานของสถานี และการออกอากาศ Re-run ได้สมบูรณ์แบบที่สุด
- ช่วยเพื่มประสิทธิภาพในระบบการขายโฆษณา สามารถสร้าง Package การขายที่ยืดหยุ่น รองรับทุกรูปแบบสื่อโฆษณา รวมถึงสามารถจัดโปรโมชั่นการพ่วงขายข้ามสถานีได้แบบง่ายดาย
- ช่วยให้งานด้านปฏิบัติการให้เป็นระบบและรวดเร็วมากขึ้น ในเรื่องของ Media Management เช่น ควบคุมสินค้าของสถานีโทรทัศน์ ( รายการโฆษณา รายการโปรโมท โลโก้ และอื่นๆ)
- ช่วยให้การจัดคิวโฆษณาเป็นเรื่องง่าย ด้วยระบบลาก-วาง พร้อมตัวช่วยที่พร้อมให้ใช้งานตามความต้องการ เช่น การพิมพ์ผังคิวโฆษณารายวัน , การส่งออก Playlist ไปยังระบบออกอากาศของสถานีฯ
- รองรับการบริหารรายการได้หลายช่องด้วยระบบเดียว(Multi-Channel Support) คือ สามารถทำผังรายการหลายๆโปรแกรมหรือหลายช่องสำหรับองค์เดียวกัน
- ช่วยควบคุมและตรวจประสานงานระหว่างแผนกต่างๆมากขึ้น
- ช่วยการบริหารงานสำหรับผู้บริหารด้วยระบบ Workflow และ Executive Report โดยจะเป็น Report รูปแบบใหม่ ดูง่าย ตอบโจทย์ผู้บริหารสถานีที่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทันที การนำเสนอข้อมูลถูกต้อง แม่นยำ เข้าใจง่ายด้วยรูปแบบการแสดงผลเป็นกราฟที่ชัดเจน นำมาวิเคราะห์ใช้งานต่อได้จริง
" BMS ตอบโจทย์ได้ในทุกคำถาม เช่น "
พนักงานขาย : เดือนนี้ มีรายการไหน ที่ยังเหลือนาทีโฆษณาบ้าง?
ลูกค้า : เดือนนี้ สินค้า A ออกอากาศกี่ครั้ง/รายการไหนบ้าง/ออกอากาศ ชุดไหนบ้าง?
คิวโฆษณา : รายการ A งดออกอากาศ จะต้องแจ้งย้ายโฆษณา ของลูกค้ารายใดบ้าง?
ผู้บริหาร : แต่ละรายการ ใช้นาทีมีประสิทธิภาพแค่ไหน?
หากเรานำระบบ BMS ร่วมกับ Middleware สามารถนำรายละเอียดของผังรายการ รายละเอียดของเนื้อหาของละคร เรื่องย่อ สรุปประเด็นประจำวัน ไปแสดงร่วมกับ EPG บนจอแสดงบนของผู้รับชมทางบ้านได้อีกอย่างง่ายดาย
ทั้งนี้ระบบของBMS จะทำงานอย่างสมบูรณ์แบบและมีประสิทธิภาพสูงสุดสำหรับในสถานีโทรทัศน์ช่องใดช่องนึง ก็ต้องมีระบบ Media Access Management System (MAM) เข้ามาทำงานควบคู่กันไปไปในระบบด้วย เพราะการออกอากาศของสถานีโทรทัศน์ส่วนใหญ่เป็นลักษณะในรูปแบบ File base work flow Solution .
By วีรเทพ วุฒิ weeratap@hotmail.com
Media Asset Management ( MAM )
Media Asset Management ( MAM )
เป็นความหมายกว้างๆ สรุปง่ายๆ "คือเป็นระบบในการใช้Softwareบริหารจัดการทรัพย์สินที่เป็นสื่อดิจิตอล(Media file)ในรูปแบบต่างๆ ตามเงื่อนไขหรือ Workflow" ระบบงานครอบคลุมถึงการจัดการระดับองค์กร รูปแบบสื่อดิจิตอล เน้นไปทางด้านวีดิโอ+เสียง และเป็นระบบที่สำคัญยิ่งสำหรับองค์กรสื่อที่จะนำมาใช้ ตัวอย่างในการนำเอาระบบเหล่านี้มาใช้ในการทำงาน เช่น สถานีโทรทัศน์
ยกตัวอย่าง ฝ่ายผลิตรายการ ถ่ายฟุตเทจรายการมา โหลดไฟล์ไปเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์(Ingest) แชร์ไฟล์ทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการผลิต(Share Storage) ตัดต่อ(NLE.) สนับสนุนงานเขียนบทสำหรับงานข่าว(NRCS) โปรดิวเซอร์ สามารถเข้าถึงไฟล์ เลือกรูปแบบไฟล์ที่ตนต้องการมาใช้งาน รวมไปถึงขั้นตอนในการตรวจสอบ(Censor) การค้นหาวีดิโอคลิปทำได้อย่างรวดเร็ว(Search) ย่นระยะเวลาในการทำงาน เมื่อทำงานเสร็จ จัดทำข้อมูลรายละเอียดของไฟล์(Cataloging)เก็บไฟล์รายการเข้าระบบ(Archive) จัดตารางออกอากาศ(BMS) จากไฟล์รายการที่ทำเสร็จเรียบร้อยพร้อมออกอากาศ(Automation Playout) เหล่านี้เป็นการสร้างกระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่าย เสริมความคล่องตัวในการทำงาน ลดความซ้ำซ้อนของงาน ลดปริมาณการทำงานของคน ซึ่งทั้งนี้การออกแบบ Workflow ก็มีส่วนสำคัญที่จะให้ระบบ MAM (Media Asset Management)ทำงานให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุดเช่นกัน
สิ่งเหล่านี้น่าจะเป็นสิ่งที่ฉุกคิด สำหรับองค์กรสื่อที่ยังไม่ได้วางแผนการรองรับไว้ หรือมองว่าไม่ใช่ประเด็นสำคัญไปกว่าการลงทุนด้านการผลิต บุคลากร เพราะท้ายที่สุด Content ดี “การจัดการ” Content เยี่ยม คือมูลค่าที่สำคัญยิ่งสำหรับองค์กรสื่อนะครับ
By วีรเทพ วุฒิ weeratap@hotmail.com
เป็นความหมายกว้างๆ สรุปง่ายๆ "คือเป็นระบบในการใช้Softwareบริหารจัดการทรัพย์สินที่เป็นสื่อดิจิตอล(Media file)ในรูปแบบต่างๆ ตามเงื่อนไขหรือ Workflow" ระบบงานครอบคลุมถึงการจัดการระดับองค์กร รูปแบบสื่อดิจิตอล เน้นไปทางด้านวีดิโอ+เสียง และเป็นระบบที่สำคัญยิ่งสำหรับองค์กรสื่อที่จะนำมาใช้ ตัวอย่างในการนำเอาระบบเหล่านี้มาใช้ในการทำงาน เช่น สถานีโทรทัศน์
ยกตัวอย่าง ฝ่ายผลิตรายการ ถ่ายฟุตเทจรายการมา โหลดไฟล์ไปเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์(Ingest) แชร์ไฟล์ทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการผลิต(Share Storage) ตัดต่อ(NLE.) สนับสนุนงานเขียนบทสำหรับงานข่าว(NRCS) โปรดิวเซอร์ สามารถเข้าถึงไฟล์ เลือกรูปแบบไฟล์ที่ตนต้องการมาใช้งาน รวมไปถึงขั้นตอนในการตรวจสอบ(Censor) การค้นหาวีดิโอคลิปทำได้อย่างรวดเร็ว(Search) ย่นระยะเวลาในการทำงาน เมื่อทำงานเสร็จ จัดทำข้อมูลรายละเอียดของไฟล์(Cataloging)เก็บไฟล์รายการเข้าระบบ(Archive) จัดตารางออกอากาศ(BMS) จากไฟล์รายการที่ทำเสร็จเรียบร้อยพร้อมออกอากาศ(Automation Playout) เหล่านี้เป็นการสร้างกระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่าย เสริมความคล่องตัวในการทำงาน ลดความซ้ำซ้อนของงาน ลดปริมาณการทำงานของคน ซึ่งทั้งนี้การออกแบบ Workflow ก็มีส่วนสำคัญที่จะให้ระบบ MAM (Media Asset Management)ทำงานให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุดเช่นกัน
สิ่งเหล่านี้น่าจะเป็นสิ่งที่ฉุกคิด สำหรับองค์กรสื่อที่ยังไม่ได้วางแผนการรองรับไว้ หรือมองว่าไม่ใช่ประเด็นสำคัญไปกว่าการลงทุนด้านการผลิต บุคลากร เพราะท้ายที่สุด Content ดี “การจัดการ” Content เยี่ยม คือมูลค่าที่สำคัญยิ่งสำหรับองค์กรสื่อนะครับ
By วีรเทพ วุฒิ weeratap@hotmail.com
Newsroom Computer System ( NRCS )
Newsroom Computer System
Newsroom คือห้องข่าวสมบูรณ์แบบ ที่เน้นกระบวนการผลิตโดยใช้ระบบของคอมพิวเตอร์เป็นส่วนสำคัญในการใช้งาน (ประกอบด้วยระบบสคริปท์ข่าวเป็นคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ทำหน้าที่ให้บริการตัวอักษร การจัดทำสคริปท์ข่าว การจัดทำตารางหมายงาน การรับข่าวตามสายจากอีเมล์ เว็บไซต์ และข่าวจากสำนักข่าวต่างๆ ที่ส่งผ่านระบบ WIRE SERVICES ได้โดยอัตโนมัติ)
Newsroom มีการวางระบบฐานข้อมูลออนไลน์ โดยเริ่มตั้งแต่ การประชุมข่าว กำหนดหมายข่าวให้ส่วนต่างๆไปปฏิบัติ ช่างภาพถ่ายเอาไฟล์วิดีโอเข้ามาลงเข้าในระบบOnline Storage ผู้สื่อข่าวเขียนสคริปท์ข่าวส่งให้ขบวนการ ตัดต่อลำดับภาพ(Nonlinear Editing)เพื่อให้ตรงกับเนื้อหาในสคริปท์ หากต้องการภาพข่าวเก่าสามารถดึงจากระบบห้องสมุดข่าว(Archive Library) ที่ได้รวบรวมสคริปท์-ภาพข่าวและข้อมูลเก่าสำคัญๆเพื่อให้ตัดต่อลำดับภาพส่งจนเสร็จสิ้น ลำดับต่อไปให้บรรณาธิการ หรือโปรดิวเซอร์ข่าวเป็นคนตรวจสอบสคริปท์และส่งข้อมูลรันดาวน์ที่พร้อมออกอากาศไปยังสตูดิโอข่าว ในส่วนที่เป็นเนื้อหาสคริปท์ในรันดาวน์ จะแสดงผลไปยังPrompterสำหรับให้ผู้ประกาศดูสำหรับการอ่านข่าวและในเวลาเดียวกันยังมีระบบอื่นที่เกี่ยวข้องกับการแสดงผลออกหน้าจอแบบอัตโนมัติได้ด้วยโดยผ่าน Mos Gateway ของอุปกรณ์นั้นๆ เช่น CG. ,Still ,Virtual System และในส่วนของข้อมูลภาพก็จะส่งต่อไปให้ระบบ Play-out นำเสนอออกอากาศภายในสตูดิโอข่าวอีกต่อไป.
By วีรเทพ วุฒิ weeratap@hotmail.com
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)